• Hero
  • Original
  • Writer
  • About us
  • คุยกับสส
  • The Persona
  • Interview
  • Thai Treasure
  • Homeland
  • On this day
  • News
  • Home
  • Editor Picks
  • Goods
  • Good Business
  • Good Product
  • Good Society
  • Business
  • Politics
  • Lifestyle
  • Home
  • Technology
  • Culture
  • Social
  • Enviroment
  • Sport

Subscribe to Updates

Get the latest creative news from FooBar about art, design and business.

What's Hot

การแพทย์สุดก้าวหน้า มนุษย์ไร้หัวใจคนแรกของโลก ดำรงชีพได้แม้ปราศจากชีพจร

13/01/2022

เซฟอย่างสวย ! หนุ่มสวมวิญญาณ ผู้รักษาประตู พุ่งปัดบอล ไม่ให้โดนผู้หญิง

13/01/2022

รวมพลคนรัก “ในหลวง ร.9” ในงาน “หัวหินบ้านของพ่อ” ที่อุทยานราชภักดิ์ 5 ธ.ค.นี้

30/11/2021
Facebook Twitter Instagram
Facebook Twitter Instagram
The PublisherThe Publisher
  • News
    • Politics
    • Business
    • Lifestyle
    • Technology
    • Culture
    • Social
    • Enviroment
    • Sport
  • Good
    • Good Business
    • Good Product
    • Good Society
  • Hero
  • Interview
  • Original
    • The Persona
    • Thai Treasure
  • Writer
    • Homeland
    • On this day
  • About us
The PublisherThe Publisher
You are at:Home » Blog » เพื่อโลกที่ดีกว่า สตาร์ทอัพสัญชาติแคนาดา ”Flash Forest” สายเขียว ใช้โดรนปลูกต้นไม้ ตั้งเป้า 1,000 ล้านต้น ในปี 2571
Environment

เพื่อโลกที่ดีกว่า สตาร์ทอัพสัญชาติแคนาดา ”Flash Forest” สายเขียว ใช้โดรนปลูกต้นไม้ ตั้งเป้า 1,000 ล้านต้น ในปี 2571

08/10/20211 Min Read
Facebook Twitter

 

นับเป็นอีกหนึ่งข่าวดีล่าสุด เมื่อบริษัทสตาร์ทอัพรักษ์โลก “Flash Forest” ณ เมืองโตรอนโต แคนาดา ได้ริเริ่มนำร่องการปลูกป่าแบบใหม่ ด้วยการใช้โดรนเพื่อปลูกต้น ซึ่งสามารถปลูกได้เร็วกว่าการใช้พลั่วของคน ถึง 10 เท่า โดยมีเป้าหมายที่จะปลูกต้นไม้ให้ครบ 1 พันล้านต้นภายในปี 2028 นี้
.
ด้วยต้นทุนทางเทคโนโลยีที่ถูกกว่าวิธีการปลูกต้นไม้แบบดั้งเดิมถึง 80 เปอร์เซ็นต์ ทาง “Flash Forest” ได้ว่าผสมผสานเทคโนโลยี ซอฟต์แวร์ และ วิทยาศาสตร์ทางนิเวศวิทยาเข้าด้วยกัน ด้วยการดัดแปลงและควบคุมโดรน เพื่อยิงเมล็ดต้นไม้ลงไปในดิน โดยการปลูกต้นไม้แบบนี้ มีประสิทธิภาพกว่าแบบทั่วไปอย่างมาก เป็นอีกหนึ่งทางออกสำหรับการปลูกป่า ซึ่งเหมาะสมกับช่วงสถานการณ์ที่จำเป็นต้องมีการปลูกป่าทั่วโลกอย่างรวดเร็วเป็นอย่างยิ่ง
.
โดรนเหล่านี้จะมีการติดตั้งระบบการยิงแบบใช้ลม ซึ่งช่วยควบคุมระดับความลึกในการปล่อยฝักเมล็ดพันธุ์ และ ยังสามารถช่วยให้มีการเข้าถึงพื้นที่ที่มนุษย์ไม่สามารถเข้าไปได้อีกด้วย
.
สำหรับขั้นตอนในการปลูกนั้น จะเริ่มต้นจากฝักต้นไม้ ที่จะถูกทำด้วยมือ ซึ่งประกอบด้วยเมล็ดที่งอกแล้วอย่างน้อย 3 เมล็ด ไมคอร์ไรซา (เชื้อราชีวภาพประเภทหนึ่ง) ปุ๋ย และส่วนผสมอื่นๆ ที่พืชชื่นชอบ
.
โดรนจะใช้ซอฟต์แวร์เข้าช่วย เพื่อค้นหาสถานที่ที่เหมาะสมในการปลูก และ เริ่มคาดคะเนพื้นที่ในการปลูก โดยจะทำการหย่อนฝักเมล็ดด้วยความแม่นยำสูงลงไปยังพื้นที่เหล่านั้น
.
หลังจากการปลูกนั้นเสร็จสิ้นแล้ว ทีมงานยังสามารถติดตามกระบวนการ โดยใช้โดรนฉีดพ่นเพื่อให้สารอาหารแก่ต้นกล้า และ ใช้โดรนอีกตัวหนึ่งเพื่อคอยจับตาดูกระบวนการเจริญเติบโตของพืช ซึ่งทางบริษัทเอง ก็ได้เริ่มปลูกต้นไม้ทั่วเมืองออนแทรีโอ ประเทศแคนาดา (Ontario, Canada) แล้ว
.
.
#Update
#ThePublisher #สำนักข่าวออนไลน์เพื่อสังคม

#Environment News
admin
  • Website

Related Posts

การแพทย์สุดก้าวหน้า มนุษย์ไร้หัวใจคนแรกของโลก ดำรงชีพได้แม้ปราศจากชีพจร

By admin13/01/2022

เซฟอย่างสวย ! หนุ่มสวมวิญญาณ ผู้รักษาประตู พุ่งปัดบอล ไม่ให้โดนผู้หญิง

By admin13/01/2022

รวมพลคนรัก “ในหลวง ร.9” ในงาน “หัวหินบ้านของพ่อ” ที่อุทยานราชภักดิ์ 5 ธ.ค.นี้

By admin30/11/2021

UNESCO รับรอง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ-พระยาศรีสุนทรโวหาร ขึ้นเป็นบุคคลสำคัญของโลก

By admin17/11/2021

Leave A Reply Cancel Reply

Demo
Editor Choices

คนไทยรู้หรือไม่ ?เทศกาล กินเจไม่มีในประเทศจีน!เปิดประวัติการถือศิลกินเจในประเทศไทย

Culture 08/10/2021

“ขอให้ประเทศจีนเจริญรุ่งเรือง สถาพร สืบไป” นักเรียนไทยในจีน โพสต์คลิปอวยพร วันชาติจีน เนื่องในโอกาสครบรอบ 72 ปี ส่งเสริมความสัมพันธ์ไทย-จีน

Culture 07/10/2021

ศาสตร์พระราชา ‘โคกหนองนา’ สุโขทัย รอดพ้นวิกฤติน้ำท่วม จากการจัดการพื้นทึ่ด้วยเกษตรทฤษฎีใหม่

News 06/10/2021

ในหลวง โปรดเกล้า ฯ ให้ตั้ง “มูลนิธิภูบดินทร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์”เป้าหมายพัฒนาความเป็นอยู่ให้กับประชาชน ในเขตพื้นที่ที่ดินของรัฐทุกประเภท

Good Society 06/10/2021
Trendy

การแพทย์สุดก้าวหน้า มนุษย์ไร้หัวใจคนแรกของโลก ดำรงชีพได้แม้ปราศจากชีพจร

Hero 13/01/2022
Facebook Twitter Instagram TikTok

Type above and press Enter to search. Press Esc to cancel.