คลายปมจัดซื้อไฟฟ้าราคาแพง เร่งเดินหน้า กม.ไฟฟ้าราคาถูก พูดคุยกับ ดร.อรรถวิชช์ สุวรรณภักดี
ประธานที่คณะปรึกษาของรมว.อุตสาหกรรม ด้านยุทธศาสตร์
เหตุผลที่นำไปสู่การชะลอ แล้วก็ตั้งกรรมการเพื่อที่จะตรวจสอบกระบวนการรับซื้อ เกิดจากอะไร อย่างไร?
ดร.อรรถวิชช์ สุวรรณภักดี: คือ ตอนที่เอาเรื่องที่เรื่องก่อนเรื่องที่มีปัญหาว่า ฝ่ายค้านท้วงติงขึ้นมาว่า การรับซื้อพลังงานสะอาดนี้เป็นยังไง ก็คุณพีรพันธ์ก็พอฝ่ายค้านท้วง ก็เข้าไปตรวจตามธรรมชาตินะครับ เพราะว่าสิ่งที่มันถูก มันต้องไม่เคยผิด ท่านก็ตั้งกรรมการตรวจ และโดยเฉพาะในขณะนี้ ก็ได้ขอให้ท่านพลตำรวจโทเรวัต กลิ่นเกสร เนี่ยเข้ามาช่วยดูเรื่องพวกนี้ด้วยนะครับ ก็เรื่องไหนที่ฝ่ายค้านก็ท้วงติงมาเราก็ตอบโจทย์ไป แต่ว่าประเด็นคือที่สาระสำคัญก่อนคือ ยังไงเสียเนี่ย พลังงานสะอาดเนี่ย มันต้องมีมาในประเทศ สัดส่วนมันต้องมาเบียด ในส่วนของพลังงานสกปรกอยู่แล้ว ประเด็นสำคัญคือใครเป็นผู้ได้ภายในโปรเจคเนี่ยต้องมีความโปร่งใส ก็คงคิดว่ามันเป็นเรื่องปกติครับ ดีแล้วที่คุณพีรพันธ์แกเบรกเรื่องไว้ แล้วก็ตรวจสอบตามที่ฝ่ายค้าน เขาอยากจะ ตรวจนะครับ แต่ว่าเรื่องยังไงพลังงานสะอาดก็ต้องมี เรียนท่านผู้ชมทั้งฟังแบบนี้ครับว่าประเทศไทยเนี่ย สมัยก่อน สมัยปัจจุบัน เขาชอบบอกว่าประเทศเนี่ย ต้องเน้นเรื่องความมั่นคงทางพลังงานคือไฟไม่ดับ ปกติแล้วเวลาการตั้งสำรองไฟเนี่ย เค้าก็ยังตั้งกันอยู่ ช่วงนี้พีคที่สุดต้องการใช้ไฟเลยขึ้นไปอีก 15% แต่ประเทศนี้มันเลยขึ้นไปถึง 49% แล้ว มันมั่นคงเกินไปนะครับ แต่ว่าในนี้ก็มี 2 เหรียญ เหรียญ 1 ด้านนึง ก็คือว่า อย่างเวียดนามเหนือเวียดนามใต้ เขาไม่มีความมั่นคงทางด้านพลังงานเท่าเรา เพราะงั้นการลงทุน ก็กลัวเหมือนกัน หากไฟดับทำอย่างไร ลาวก็เหมือนกัน ถึงแม้ไฟถูกกว่าเรา แต่ก็ไม่มั่นคงทางพลังงาน อันนี้ของเราก็มั่นคงสูงเกินไป มันจะก็ไปแพงด้วยไง มันตามมาด้วยราคาที่ต้องจ่าย คราวนี้ ประเด็นคือ แล้วเราจะต้องลดสำรอง จะลดยังไง คำตอบคือ สัญญาณไหนมันเซ็นไปแล้วอะ ส่วนมากมันเปลี่ยนยากนะครับ สัญญาเซ็นไปแล้วมันก็เซ็นไป แต่เดี๋ยวพอความต้องการของไฟฟ้าเพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆ ตัวเลขที่เคย 49% มันจะตกลงมาเรื่อยๆ คำตอบคือ เดี๋ยวนี้จะต้องทดแทนด้วยพลังงานสะอาดแล้ว เพราะเนื่องจากว่า ฝรั่งในสหภาพยุโรปก็มี 4 แบรนด์ พูดง่าย ๆ คือวิธีกีดกันทำการค้าแบบใหม่ของเขา เขาก็ต้องการจะให้โลกมันเขียวขึ้น อืม โลกมันเขียวขึ้น ก็เลยจะมาดูว่าแหล่งธรรมชาติ แหล่งไฟเป็นยังไง ไฟฟ้ามันก็เลยจะต้องเปลี่ยนสัดส่วนโควตาใหม่ที่เป็นโควตาพลังงานสะอาด นั้นถามว่าพลังงานสะอาดต้องเพิ่มขึ้นมั้ย คำตอบจะต้องเพิ่ม แล้วก็ลดการผลิตในเรื่องของถ่านหินลงไปเป็นลำดับ เรื่องมันจะเป็นอย่างงี้ก่อน ส่วนที่ว่าใครจะได้โครงการนี้ไปต้องมีความโปร่งใส นั่นคือประเด็นหลักนะ ที่เราจะต้องมานั่งดูกันว่าใครจะได้ไป
ประเด็นที่ตั้งข้อสังเกต คือ ทำไมไม่เปิดประมูล ทำไมถึงใช้รายเดิม แล้วราคาทำไมไม่มีการเปลี่ยนแปลง การต้นทุนที่มันน่าจะลดลง?
ดร.อรรถวิชช์ สุวรรณภักดี: ก็อย่างนี้นะครับ เพราะว่าอย่างที่ผมเรียนเนี่ย สุดแล้วก็คือว่าคณะกรรมการกพช. หรือคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ นายกรัฐมนตรีเป็นประธาน ซึ่งท่านรัฐมนตรีพีรพันธ์ก็อยู่นั้นด้วยอยู่แล้ว ก็ได้สั่งระงับแล้วก็ทำตรวจสอบ ดูให้มีความครบถ้วนเรียบร้อยนะ ดูว่าใครจะเป็นคนได้ แล้วได้แล้วได้ยังไงผมว่าเขาก็ต้องเตรียมรับมืออยู่แล้ว เพื่อความโปร่งใสในการประมูล แต่ผมมาชี้นะผู้ชมเห็นก่อนว่า เวลาเขาประมูนยักษ์ใหญ่สองสามราย เขาเถียงกันอยู่แล้ว ฝั่งซ้ายอยู่บริษัทนี้ฝั่งขวาอาจจะอยู่บริษัทนี้ แล้วโปรเจกต์ใหญ่ขนาดนี้ร้องอยู่แล้วครับ เพราะฉะนั้นก็ ดีแล้วครับ ที่นำไปสู่การตรวจสอบก็โปร่งใสดี แต่ว่า เรามาดูสิ่งที่มันได้ได้ประโยชน์กับพี่น้องประชาชนเต็มๆดีกว่า ว่าท่านจะเริ่มเห็นว่า ขณะนี้ การที่ทำไฟฟ้าและพูดถึงพลังงานสีเขียวเนี่ย มันเป็นเรื่องสำคัญและ และดูเหมือนกันว่าหน้าบริบทความมั่นคงทางพลังงานเนี่ยกำลังจะเปลี่ยนไปละ เฉพาะว่าคุณมีไฟฟ้าสำรองเกินเนี่ย มันไม่พอละ มันก็เป็นไฟสีเขียว ทำยังไงให้ไฟสีเขียวมันถูกลงได้ในอนาคต อันนี้ก็เลยนำหน้าไปสู่การทำพระราชบัญญัติ ส่งเสริมพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่งอันนี้ รมต.พีรพันธ์ ตอนท่านเข้ามารอบหลัง เมื่อ 3-4 เดือนที่แล้วนะครับ ผมก็เพิ่งมาอยู่รวมไทยสร้างชาตินี่แหละ ท่านเอาเอกสารไหมผมหนาขนาดนี้เป็นบทวิจัยเอามาให้ดูระบบ เอ๋ ร่าง พรบ.ส่งเสริมโซล่าให้พี่หน่อย เอาแบบที่เอ๋คิด ก็ร่างไปให้ 31 มาตรา ซึ่งเมื่อวานก็เป็นวันที่ยื่นเข้าสภาไปเรียบร้อยแล้ว คือผมคิดง่ายๆเลย ฉีกพลังงานพังเรื่องโซลาร์ไปเลยคือว่า ให้ระบบโซลาร์ต่างๆ ไม่อยู่ภายใต้การขออนุญาตไปเลย ใครอยากทำ ทำ เพราะถ้าความมั่นคงทางพลังงานมันอยู่ในมือประชาชน ประชาชนสามารถผลิตไฟฟ้าได้เอง อย่างนี้สัดส่วนของ โซลาร์ มันจะมากขึ้นในประเทศไทยนะครับก็เลย เปลี่ยนใหม่เลยครับ แทนที่ต้องขออนุญาตเมื่อก่อนถูกใส่ ฟิลเตอร์เอาไว้ 5 หน่วยงานใช้เวลาเกือบ 1 ปีในงานขอใช้โซลาร์ ซึ่งมันเป็นพลังงานแสงอาทิตย์เนี่ย ก็หมดเลยครับ 5 หน่วยงาน ลองคิดดูว่ามีอะไรบ้าง 1 ปีนะ กว่าจะขอติดโซลาร์ได้แบบ เสียบปลั๊กแบบอังกฤษเนี่ย 1 ท่านต้องขอคณะกรรมการกกพ. ซึ่งตรงนี้เป็นองค์กรอิสระนะครับ 2 ต้องขอกรมพพ. หรือกรมพลังงานทดแทนที่สังกัดกระทรวงพลังงาน 3 แค่ติดโซลาร์เซลล์ถูกตีความว่าเป็นโรงงานต้องขออนุญาตกรมโรงงานกระทรวงอุตสาหกรรม 4 ถ้าติดบนหลังคาบ้าน ท่านต้องขอราชการส่วนท้องถิ่น พวก กทม. อบต. หรือเทศบาล และสุดท้าย 5 ท่านต้องขอเชื่อมไฟหรือขนานไปกับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือการไฟฟ้านครหลวง 5 หน่วยงาน ใช้เวลาเกือบปีนะครับ ผมฉีกทิ้งหมดก็คือ ไม่ต้องไปขอละ อันนี้ใครติดติดไปเลยนะครับ แล้วก็อย่างเดียวคือแจ้ง แจ้งแค่หนเดียวที่เดียวคือ แจ้งผ่านเว็บไซต์ของกรมพลังงานทดแทน เพื่อจะทำการเก็บข้อมูลว่า บ้านหลังไหน โรงงานไหน มีการใช้พลังงานตัวนี้เพื่อใช้ในการกำหนดแผน บีดีพี แผนของพลังงานภาพรวมในอนาคต ผมคิดว่าอันเนี้ย เราก็ฉีกทุกมิติ ให้ประชาชนทะลุเข้ามาใช้ไฟถูกได้ ซึ่งถ้าไม่ออกกฎหมาย เป็นการเฉพาะจะทำไม่ได้เลย จะยากมาก เพราะว่ากรมโรงงานอุตสาหกรรมขึ้นอยู่กับกระทรวงอุตสาหกรรม รมต.เอกนัฏเขาปลดไว้เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันก่อนออกกฎกระทรวงแล้ว หมดไป กรมพัฒนา ปล่อยพลังงานทดแทน พพ. อยู่กับคุณพีรพันธ์ ก็ทำหนังสือเรียบร้อยทำเอกสารแล้ว แต่มันต้องออกเป็นระดับราชกฤษฎีกากฎหมายก็มีความล่าช้า นะครับว่าเป็นขั้นตอนการออกกฎหมาย แต่ที่สำคัญเนี่ย การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค มันขึ้นอยู่กับมหาดไทยหมดเลย เพราะฉะนั้นถ้าอยู่ดีๆ เราจะไปลดให้ไฟให้ประชาชนใช้ไฟถูกได้จากแหล่งอื่น แน่นอน กฟน. พพ. เขาจะต้องเดือดร้อนแน่ เพราะฉะนั้นมีวิธีเดียวออกกฎหมายครับ คงไปเจรจาไม่ได้เพราะคงไม่ยอม เพราะฉะนั้นก็เราก็ออกกฎหมายไปเมื่อวันเข้าสภาไปเรียบร้อยแล้วครับ เดี๋ยวรอลุ้นว่า อีก 4 เดือน 5 เดือนจากนี้กฎหมายจะมีผลใช้บังคับ สส.จะโหวตให้กี่คน แล้วใครไม่โหวตบ้าง ก็ต้องรอชมครับ
ตอนนี้เป็นกฎหมายในนามของพรรครวมไทยสร้างชาติ แต่มันไม่ได้ถูกสนับสนุน โดย ครม. มันจะทำให้ ความสำเร็จของมัน ไม่รู้สึกได้ว่าเต็ม 100 หรือเปล่า เพราะไม่รู้ว่าพรรคร่วมรัฐบาลเนี่ยจะให้การสนับสนุนหรือเปล่า?
ดร.อรรถวิชช์ สุวรรณภักดี: ปัจจุบันเนี่ยกฎหมาย ครม. ในช่วงห่วงปีที่ผ่านมาหลังรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ มันยากขึ้นกว่าเดิมเยอะ เพราะมันต้องส่งจดหมายเวียนไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และก็จะต้องทำเปิดรับฟังความคิดเห็นอีก เพราะฉะนั้นจะเห็นได้ว่าในห่วงปีที่ผ่านมาเนี่ยกฎหมายที่ถูกเสนอโดยคณะรัฐมนตรี ทำได้ยากมาก ยากจริง ๆ แต่ในทางกลับกฎหมายเสนอโดยสส. เนี่ยจะง่ายกว่า เพราะว่าเปิดรับฟังความคิดเห็นแค่เดือนกว่าก็บรรจุเลย วิธีการก็คือว่า ถ้าจะงานนี้จะบรรจุก็เดี๋ยวรมต.พีรพันธ์ เขาก็เตรียมทำร่างของกระทรวง ตามประกบก็ได้เหมือนกัน เพราะว่าอยู่กระทรวงพลังงาน แต่ว่าเราตัดสินใจว่ามาทางนี้เนี่ยกฎหมายเร็วกว่า ใช้ได้จริง กระชับนะครับ แล้วก็ได้มีการตรวจค้นพบถ้วนแล้ว กฎหมายฉบับนี้ ในตัวมันเอง พิจิตเคย ผมเคยเล่าเรื่องทฤษฎีไม้เสียบลูกชิ้น ให้ท่านฟังหลายครั้งนะครับว่า คือมันจะเป็นพ่วงหลายหน่วยงาน กฎหมายตัวนี้พ่วงอะไรบ้าง 1. คณะกรรมการกกพพ. ซึ่งก็เป็นกรรมการอิสระนะ อันนี้ไม่ได้อยู่กับส่งพลังงานนะครับ เพราะอิสระของเขา ไปเกี่ยวกระทรวงอุตสาหกรรม ไปเกี่ยวกระทรวงพลังงาน ไปเกี่ยวกระทรวงมหาดไทย แล้วเราจะเห็นว่า เวลามันเกี่ยวกันหลายหน่วยอย่างนี้ โอ้โห แค่ส่งจดหมายเวียน ปีนึงนะครับ ไม่เสร็จหรอกนะฮะ ก็เลยตัดสินใจว่างั้นเท่าเป็นกฎหมาย โดยใช้สส. เข้าชื่อ ก็สามารถจะเข้าชื่อได้โดยใช้สส. 20 คนขึ้นไป เมื่อวานก็ใช้สส.พรรครวมไทยสร้างชาติ เซ็นเสนอเข้าไป วิธีนี้เร็วกระชับ ได้ผลที่สุด 5 เดือนรู้เรื่อง ประกอบกับกฎหมายฉบับนี้เนี่ย ผมดีไซน์เอาไว้ไม่ได้ใช้เงินงบประมาณหลวง แม้กระทั่งบาทเดียว เพราะฉะนั้นมันจะไม่ใช่ข้าชบัญญัติเกี่ยวข้องกับการเงิน เลยไม่ต้องไปถาม วนไปถามหลายหน่วยงาน เอาแค่เข้าสภา ถ้าผ่านหรือจบเลย ก็จะมีหัวใจบังคับ ครับ นี่คือเหตุผลว่าทำไมไม่ทำเป็นร่าง ครม.
ได้ซาวน์เสียงพรรคร่วมหรือยัง ?
ดร.อรรถวิชช์ สุวรรณภักดี: นโยบายของทุกพรรคตอนหาเสียงเนี่ย ก็หาเสียงเรื่องนี้ไว้นะครับ ก็มีการพูดเรื่องเกี่ยวกับการทำให้ไฟฟ้าถูกลง โดยเฉพาะหลังสุดเนี่ย ท่านนายก ตั้งประกาศว่าจะเอาค่าไฟฟ้า 3 บาท ซึ่งค่าไฟจะ 3 บาทได้เนี่ยมีทางเดียวที่ประชาชนจะรับรู้ถูกที่สุดคือต้องเป็นเรื่องโซลาร์เนี่ยนะครับ มันเวย์อื่นที่จะไปมันแทบจะไม่มีแล้ว เพราะฉะนั้น ประชาชนนะครับ ยังไงถูกลง ก็ต้องเร่งด้วยวิธีการนี้คือปลดระบบ อันตรายระบบโซล่าร์เนี่ย ให้มันไม่เป็นการขออนุญาตแล้วให้ภาคประชาชนก็เข้มแข็ง ครับ ก็คิดว่า หลายพรรคแล้วทุกครั้งน่าจะให้การสนับสนุนในเรื่องนี้นะครับ
มีการแบบขอเสียงเอาไว้ด้วย เพื่อที่จะประสานให้ในสภาให้สนับสนุน?
ดร.อรรถวิชช์ สุวรรณภักดี: เท่าที่ผมทราบผมทราบแต่ว่านโยบายนี้ก็สอดคล้องกับกับนโยบายของท่านนายกฯ แล้วก็ เอ่อ ท่าน ชูศักดิ์ ศิรินิน คือ ประชุมเวลาเอากฎหมายเข้าสภานี่จะต้องมีประธานวิป คุณชูศักดิ์ก็ถามถึงกฎหมายหยุดเหมือนกันว่า เอ้า ท่านแบบพีรพันธ์จะส่งมาเมื่อไหร่ ก็กฎหมายฉบับนี้นะครับ เสร็จเรียบร้อยแล้วส่งแล้ว ผมคิดว่า ขั้นตอนตามกฎหมายจากนี้ก็อีกหนึ่งเดือนครับ ในการรับฟังความคิดเห็นในของสภาผู้แทนราษฎรแล้วก็คงจะบรรจุเข้าที่นิด เดี๋ยววิปดูแล้วก็ให้แซงคิวขึ้นมาก่อน เราอาจจะได้เห็นกฎหมายนี่ 4-5 เดือนนี้ครับ ที่จะเป็นรูปธรรมแล้วใช้บังคับได้จริง
4-5 เดือนนี้น่าจะผ่านสภา หรือคิดว่ากลไกนี้มันจะจบเลย?
ดร.อรรถวิชช์ สุวรรณภักดี: ผมคิดว่าควบคุมการทั้งหมดน่าจะจบครับ เพราะว่าเราเป็นเราเดือนเดียว ที่จะรับฟังความคิดเห็นนะครับ เอาผมให้ 2 เดือนเลย เข้าบรรจุระเบียบไว้แล้ว ถ้าโดนแซงคิวได้นะ หมายถึงว่า ถ้าเราจับแซงที่มีกฎหมายอื่นได้ ก็อาจจะเข้าก่อนเลย ซึ่งคณะกรรมาธิการในช่วงเวลา 2 เดือน 3 เดือนก็ได้จบแล้วครับ มีอยู่ 31 มาตรา เขียนว่าเรายกเลิกการขออนุญาตในแต่ละหน่วยงานที่ไหนบ้างนะครับ แล้วก็ มีการเปลี่ยนจากอนุญาตเป็นการแจ้งก็พอใครติดต่อไว้นี้แจ้ง แล้วก็ มีวิศวกร เซ็นรับรอง วิศวกรที่คือท่านหาเองนะ ที่มีใบอนุญาต สแกน ใบอนุญาตส่งใบอนุญาตเสร็จเรียบร้อยก็สามารถที่จะถูกต้องตามกฎหมายนะ ไม่ต้องวิ่งไปขอให้ตั้งเกือบปี ซึ่งมันจะส่งผลทำให้ ถ้าติดโซล่าร์ถูกลงไปด้วย ปกติจะติดโซล่าร์ทีมขนาดนี้ 5 กิโลวัตต์เนี่ยสำหรับบ้านที่ค่าไฟหกพันบาทเนี่ย ค่าติดก็ประมาณ 180,000 ซึ่งผมคิดว่าในอนาคตเนี่ยจะถูกไว้เยอะนะครับ เพราะ 1 ค่าขอใบอนุญาตมาไม่วุ่นวายเหมือนเก่าแล้วก็จะลดเป็นหมื่นละ 2 แบตเตอรี่ท่านไม่ต้องมีก็ได้เลยนะครับท่านซื้อแบบ เอาแค่อินเวอร์เตอร์ตัวหนึ่ง ราคาก็ไม่ไปกี่ตังหมื่นสองหมื่น แล้วก็แผงโซร์ลาร์ ถ้าติดแค่นี้ จบ ประหยัดได้เยอะ ท่าน พีรพันธุ์ มอบให้ผมเป็นกรรมการดูเรื่องเครื่องอินเวอร์เตอร์ที่คำนึงถึงมือคนไทย เรากำลังจะทำแบบ 5 กิโลวัตต์ออกมาขายจำนวน 1 นะครับ พร้อมกับแผงโซลาร์ลี่ให้กับพี่น้องประชาชนในราคาถูก ซึ่งจะถูกกว่าตลาดเป็นครึ่ง แล้วก็จะมีงบฝึกอบรม ให้ได้ใบรับรอง สร้างงานในการติดโซลาร์ ค่าติดก็จะถูกลงไปด้วยนะครับ
มีการคำนวณว่าถ้ามันสามารถทำตามแผนที่วางไว้ น่าจะลดค่าไฟฟ้าได้อยู่แล้วเท่าไหร่?
ดร.อรรถวิชช์ สุวรรณภักดี: โอ้ ถ้าเป็นบ้านก็เป็น 5 กิโลวัตต์นะครับ แล้วก็ใช้ไฟตัวนี้ถ้าใครสัก 5000 บาทเนี่ย ถ้าทำแบบที่ผมบอกนะครับ ไฟต้นลงประมาณ 2000 บาท ตอนผมเขียนกม. ทำไมโซลาร์เซลล์ มันต้องขออนุญาตมันเหมือนตู้เย็นตู้เลยนะ คือเราก็เสียบ ตู้เย็นหลังจากมิเตอร์อยู่แล้ว อันนี้เราก็ไม่ใส่อินวัตเตอร์หลังจากมิเตอร์อยู่แล้ว ไม่เห็นจำเป็นต้องขอการไฟฟ้าให้วุ่นวายเลย ถ้าเอาแค่ว่าเครื่องตัวนี้ มันผ่านระบบการตรวจสอบว่า ไฟมันจะไม่ไหลย้อนกลับเข้าไปเนี่ย ให้การไฟฟ้ามิเตอร์ตีรัวเนี่ย แค่นี้ผมมันจุกแล้ว ผมก็เลยคิดว่า วิธีนี้นะครับ คือพังระบบไปเลย คือไม่ต้องขออนุญาตกันแล้ว ให้เป็นเรื่องที่ประชาชนใช้ได้เป็นสมบัติของชาติ ว่าทุกคนก็มีโอกาสใช้แสงอาทิตย์อย่างเท่าเทียมกันครับ
การพังระบบ มันน่าจะมีแรงต้านพอสมควรไหม คิดถึงแรงต้านที่อาจจะเกิดขึ้นมา?
ดร.อรรถวิชช์ สุวรรณภักดี: คิดว่าแรงต้านที่เกิดขึ้นเนี่ยก็คือ 1 ผมคิดว่าการไฟฟ้า ไม่ใช่ฝ่ายผลิตละกัน ก็ดูแล้ว ไม่ติดใจนะครับ มันคิดว่าโอเค แต่ว่าส่วนนี้อยู่ที่กพน. ที่มันระบบสายจ่าย ไม่ใช่ใครส่ง พวกการไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ซึ่งไปอยู่มหาดไทยอันเนี้ยไม่แน่ใจเพราะไม่เคยคุยด้วยนะครับ ก็จะต้องสูญเสียรายได้พอสมควรเพราะว่าประชาชนจะถูกลงจะแสงอาทิตย์ แต่ผมเรียน ให้ผู้ชมอย่างงี้ว่า มันไม่ได้มีประโยชน์เฉพาะแต่ภาคครัวเรือนของพวกเรานะ สำคัญคือมันเป็นมีประโยชน์กับภาคอุตสาหกรรมโดยรวมด้วย เพราะว่าเราพูดถึงโรงงานอุตสาหกรรม จากนี้ถ้าไม่ต้องขายไฟกลับเนี่ย ใช้เองในโรงงานใช้เองในการเขตนิคมของตัวเอง ใช้ในโรงเงินของตัวเองเนี่ยก็ไม่ต้องขออนุญาตเช่นเดียวกัน ซึ่งมันจะนำมาซึ่งธุรกิจใหม่ๆ เต็มไปหมดเลยครับ ขณะนี้เราไปพูดกับเรื่อง เส้นเห็นไหมว่าบริษัทกูเกิ้ลนะครับ เขาอยากจะมาทำเดลต้า เซ็นเตอร์ ในประเทศไทย ซึ่งลงทุนมหาศาล ธุรกิจเดลตาร์เซ็นเตอร์นี้เนี่ย จะต้องใช้ไฟสะอาดครับ 100% เป็น แม้ไอ้กลไกที่เราทำอยู่ในขณะนี้ คือ เราเปิดให้ไฟสะอาดมันเข้าได้ตอนกลางวัน เพราะตอนกลางคืน มันต้องมีการปนไฟสกปรกเข้ามาด้วยใช่ไหมว่าประเทศไทยมันมีทั้งสายส่งพี่ต้องไปสกปรกรถไฟสะอาด วิธีก็คือว่า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตหรือกฝผ. ที่ขึ้นกับกระทรวงพลังงานเนี่ย เขามีแหล่งที่มาของไฟฟ้าพลังงานสะอาด เขาก็จะออกหนังสือรับรองว่า ถ้าคุณมาขอฉันจะออกหนังสือรับรองพลังงานสะอาดให้คุณไป แปลว่าใครจะต้องส่งของไปยุโรป ทำโรงงานส่ง หรือจะเป็น โรงงาน ที่ต้องทำอีกครั้งข้อมูลโดยต้าเซ็นเตอร์แบบกูเกิ้ลเนี่ย ก็สามารถจะมาขอเอกสาร พลังงานสะอาดได้ แต่ กฟผ. นะครับ ก็บอกต้องออกไปนี้ให้ คุณก็เอาเป็นแน่ บอกได้ว่าพลังงานที่คุณใช้อยู่เนี่ย เป็นพลังงานที่สะอาด 100% เต็ม อันนี้จะทำให้การลงทุนใหม่ๆเกิดขึ้นในประเทศเดต้าเซ็นเตอร์ทางข้อมูล รวมไปถึง บริษัท ไมโครชิป เดี๋ยวนี้พิจิตไปดูสิเขาถามว่าใครเป็นเจ้าพ่อ ประเทศไทยต้องกระโจนเข้าใส่ อย่าปล่อยตลาดนี้ เป็นแค่จีน หรือไต้หวันเท่านั้น เราก็ ถ้าเราตามพลังงานสะอาดได้เต็มรูปแบบ นะครับ ก็จะทำให้เกิดเนี่ย อุตสาหกรรมใหม่ๆเกิดขึ้น โรงงานผลิตชิป แล้วก็จะเกิดธุรกิจที่ก็รอนิวส์ เอสเคิร์ป ธุรกิจใหม่ที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ไหนๆ ยุโรปก็จะกีดกัน ทางการค้าแบบใหม่ ที่ไม่ใช่เรื่องการค้ามนุษย์ แต่ไปเรื่องกรีน เราก็โกกรีนกลับมาเลยครับ โดยใช้วิธีนี้แหละ ผมคิดว่าการเปิดเสรี ไฟฟ้าให้อยู่ในมือของประชาชน จะแก้ไขปัญหาเรื่องได้หลายช็อตยันไปถึงเรื่องของภาคอุตสาหกรรมในอนาคตเลยครับ
การรับซื้อจากประชาชน มันถูกกำหนดไว้แค่ 90 เมกะวัตต์ มันควรที่จะขยายเพิ่มเติมอะไรยังไง?
ดร.อรรถวิชช์ สุวรรณภักดี: โคตรปวดหัว คือถ้าผมไปรอเรื่องการรับซื้อนะ ชาตินี้กฎหมายฉบับนี้ไม่ได้ออก เพราะว่าการรับซื้อไฟนะครับ ผมเล่าให้จงฟังแบบ ง่ายๆแล้วกันนะ เวลาเราจะรับซื้อไฟคืน มิเตอร์บ้านเราต้องเป็นสมาร์ทมิเตอร์ ถูกไหมครับ ถ้าเราจะไปต่อในอนาคตสมาร์ทกริดด้วย สถานีไฟฟ้าย่อย คุณต้องจินตนาการตามผมนะ ไฟฟ้าฝ่ายผลิตมันเป็นสายใหญ่ มันวิ่งเหมือนแม่น้ำ น้ำเชี่ยวหลายฝูง ไหลแล้วก็ไหลเลยนะ ไอ้สายจ่ายของกฟน. การฟ้านครหลวงการไฟฟ้าสุขภาพมันเหมือนมันต่อสายย่อยเข้ามา เวลาต่อสายย่อยก็มาเนี่ย มันต้องมีสเตชันเล็กเข้าเรียกว่ากลิต ถ้าท่านจะแบบ หูใช้พลังงานทุกบาททดสอบแบบคุ้มค่าเนี่ย ต้องมีสมาร์ทกลิตหมายความว่า เฮ้ย มันเก็บข้อมูลได้ ว่าไฟนั้นจะมาเท่าไหร่ แล้วก็ถึงเวลาปุ๊บ มันจะมีแบตเตอรี่เซฟไฟเอาไว้ด้วย ในกลิตย่อยนะ แล้วแต่ขณะเดียวกัน มันรู้ได้ไง กลิตเนี่ยมันรู้ได้ไงว่า ฉันต้องเก็บไฟล์วันไหนและแบตเตอรี่ต้นใหญ่เท่าไหร่ คำตอบคือ สมาร์ทมิเตอร์ที่บ้านไง มันต้องบอกได้ว่าคนไหนใช้เวลาเท่าไหร่ ใช้ได้ยังไง มันจะประมวลผลข้อมูลนั้นมันก็มี 2 อย่าง สมาร์ทมิเตอร์ทุกครัวเรือน สมาร์ทกริดในทุกสัตว์สเตชั่นย่อย ชาติหน้าก็ไม่ได้ครับ เพราะฉะนั้น เพราะฉะนั้นถ้าดีไซน์กฎหมาย แล้วบอกว่าจะต้องเน้นเรื่องการขายคืนด้วย ผมบอกอะไรไม่จบ งั้นผมก็เลยคิดว่า เลยบอกทั้งพีรพันธ์ไปพี่ครับ เอาแค่นี้ แล้วท่านก็เห็นแค่นั้นเหมือนกันว่า เออว่ะ จริง อันนี้ผมก็เลยคิดว่ามันลองมันถูกทดลองทำมาแล้ว แล้วมันติดเราขึ้นทางด่วนนี่มันไม่ติดดีกว่า คือเอาโซลาร์ลูฟวร์ ไปอยู่ในมือประชาชนให้เร็วที่สุด เพราะฉะนั้นคือการตรวจการขออนุญาต เหลือแค่แจ้งจาก 5 ที่ขออนุญาตเป็นปี เหลือแค่ แจ้งที่เดียวครั้งเดียวจบ วิธีนี้จะทำให้โซล่ามัน มันบูมเร็วในประเทศ ราคามันก็จะถูก มีโคโนมีรสเกล ทำให้ราคาถูกคนต่ำลงมาด้วย วิธีนี้เป็นไปได้จริงเร็วที่สุดแล้วที่คิดว่าทำได้ครับ ก็รู้แล้วเนี่ย ในแง่ของหลักการก็ไม่ควรที่จะมีใครคัดค้านเนาะ เพราะว่ามันเป็นประเด็นที่น่าจะเกิดประโยชน์ค่ะ ในเรื่อง โซลาร์เนี่ยเขาก็คนก็พูดว่า อย่างที่คุณอาจจะวิตบอกว่ามันโอ่มันยากมันเย็นกว่าจะได้กว่าจะติดได้ ถ้าปลดบล็อกได้ มันก็น่าจะเป็นไปอย่าง