Browsing: มิจฉาชีพ

.ในยุคที่มิจฉาชีพยังคงระบาดอย่างต่อเนื่อง ซึ่งแพลตฟอร์มยอดฮิตที่มิจฉาชีพเหล่านี้มักปลอมขึ้นมาหลอกประชาชนจนสูญเงินมาแล้วนักต่อนัก ก็คือ “LINE Official” โดยมักจะแอบอ้างเป็นร้านค้า หน่วยงานรัฐ หน่วยงานเอกชน เพื่อหลอกเอาข้อมูล หลอกให้ติดตั้งแอปพลิเคชันอันตราย แล้วดูดเงินประชาชนที่หลงกลต่อเป็นเหยื่อจนเกลี้ยง แต่เราจะมีวิธีสังเกตอย่างไรว่า ผู้ที่เราทำการซื้อขายหรือพูดคุยด้วยจะเป็นแอคจริง หน่วยงานตัวจริง ไม่ใช่เป็นมิจฉาชีพแฝงตัวมาหลอกแล้วดูดเงิน.ซึ่งวิธีสังเกต “LINE Official ตัวจริง” มีดังต่อไปนี้ 1.…

.ตำรวจสอบสวนกลาง ออกมาเตือนภัยบรรดาข้าราชการบำนาญ หากพบข้อความ SMS ที่แนบลิงก์ให้คลิกพร้อมกับอ้างตนมาจากหน่วยงานรัฐ ‘กรมบัญชีกลาง’ ให้อย่าหลงเชื่อเผลอกดเด็ดขาด! โดยระบุข้อความว่า “มิจฉาชีพแอบอ้างเป็นกรมบัญชีกลาง ส่ง SMS หลอกเหยื่อให้ติดต่อรับไฟล์เอกสาร การสั่งจ่ายเงินช่วยเหลือค่าครองชีพที่ตกหล่น เมื่อเหยื่อหลงเชื่อกดลิงก์ที่แนบมา จะเป็นการเพิ่มเพื่อนในไลน์ มิจฉาชีพจะพูดคุยหลอกล่อเหยื่อให้กดติดตั้งแอปพลิเคชัน ซึ่งนั่นก็คือแอปฯ ที่จะดูดเงินออกจากบัญชีของเหยื่อนั่นเอง”.พร้อมกำชับประชาชนอีกด้วยว่า ไม่ควรกดลิงก์แปลกปลอม หรือกดเพิ่มเพื่อนไลน์ในรูปแบบสแกน…

.ปัจจุบัน พบว่ามิจฉาชีพยังคงออกอาละวาดหนัก ทั้งคอลเซ็นเตอร์ หลอกขายของออนไลน์ และที่หนักสุดคือการสวมรอยเป็นเจ้าหน้าที่หน่วยงานต่าง ๆ ส่งข้อความแอบอ้างให้เหยื่อหลงเชื่อกดลิงก์ หลอกติดตั้งแอปฯควบคุมโทรศัพท์ เพื่อดูดเงินของประชาชนที่ตกเป็นเหยื่อ.ทางเพจ “สืบนครบาล IDMB” ได้ออกมาเตือนภัยถึง 8 หน่วยงานที่มิจฉาชีพมักแอบอ้าง ส่ง SMS ปลอม หลอกกดลิงก์ ประกอบด้วย ธนาคารกรมที่ดินการไฟฟ้าการบินไทยกรมบัญชีกลางบริษัทขนส่งพัสดุกระทรวงยุติธรรมกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ…

.อย่างที่เคยโพสต์เตือนภัยไปก่อนหน้านี้ หลังตุ๊กตา “ลาบูบู้” มอนสเตอร์ในร่างกระต่ายขนปุกปุย ที่มาพร้อมเอกลักษณ์ฟันแหลมคมสุดน่ารัก ได้กลายเป็นกระแส คนตามหาซื้อตามกันเพียบ ทำให้มีทั้งคนอาศัยจังหวะชุลมุนโก่งราคา อัพค่าตัวเจ้าลาบูบู้กระโดดขึ้นมาหลักพัน เท่านั้นยังไม่พอ มิจฉาชีพก็เริ่มออกอาละวาดหนัก.ล่าสุด ผู้ใช้ Facebook “Napasorn Petcharat” ได้โพสต์เตือนภัยลงในกลุ่ม “Labubu ลาบูบู้ & Popmart…

.เพจ “ตำรวจไซเบอร์ – บช.สอท.“ ได้ออกมาโพสต์เตือนระวัง มิจฉาชีพฉวยโอกาสหลอกขาย “ลาบูบู้” ตุ๊กตามอนสเตอร์ในร่างกระต่ายขนปุกปุย ที่มาพร้อมเอกลักษณ์ฟันแหลมคมสุดน่ารัก โดยทางเพจได้ระบุข้อความเอาไว้ว่า….🚫วิธีการสังเกตมิจฉาชีพที่มาหลอกขาย “ตุ๊กตาลาบูบู้”📌 โปรไฟล์คนขายไม่ชัดเจนตรวจสอบข้อมูลไม่ได้📌 สินค้ามีราคาที่ถูกเกินจริง เมื่อเทียบกับราคาท้องตลาด📌 เร่งรัดให้โอนเงินอ้างว่าถ้าโอนช้าสินค้าจะหมด📌 ถ้าขอเช็กสินค้าหรือวิดิโอคอลดูสินค้าจะชิ่งหนีไม่คุยต่อ📌 เปลี่ยนข้อมูลการซื้อขายบ่อย เช่น เลขบัญชีที่ใช้โอนเงิน📌 เมื่อเหยื่อหลงโอนเงินจะปิดเพจหนีและตัดการติดต่อทุกช่องทาง.…

.ประชาชนที่มีเรื่องให้ต้องเดินทางโดยเครื่องบินต้องระวังเหล่ามิจฉาชีพเอาไว้ให้ดี หลังเพจ ตำรวจสอบสวนกลาง (CIB) ออกมาเตือนว่าช่วงนี้มิจฉาชีพอาละวาดหนัก ด้วยการแอบอ้างเป็นเอเย่นต์การบินไทย ทำเพจปลอม อ้างว่ามีโปรโมชั่นลดราคา 50% ทุกที่นั่ง ทุกเที่ยวบินทั้งในประเทศและต่างประเทศ ทำให้มีผู้เสียหายหลงเชื่อกดลิงก์ ซึ่งทำให้เกิดความเสียหายตามมา.ซึ่งหากไม่อยากตกเป็นเหยื่อเหล่ามิจฉาชีพ ต้องใช้ความระมัดระวังในการซื้อบัตรโดยสารจากเอเย่นต์ต่าง ๆ โดยเฉพาะแพลตฟอร์มในโซเชียลมีเดีย โดยให้เลือกซื้อบัตรโดยสารจากเอเย่นต์ที่ไว้ใจได้เท่านั้น นอกจากนี้สามารถซื้อบัตรโดยสาร และติดตามโปรโมชั่นต่าง ๆ…

ใส่คำบรรยายภาพ . ณ วันที่ 26 มีนาคม 67 เวลา 13:00 – 17:00 น. ทีมโฆษกสำนักงานตำรวจแห่งชาติ และ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมร่วมกับกองบัญชาการตำรวจสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมทางเทคโนโลยี ได้มีการร่วมกันเพื่อจัดดงานเสวนาในหัวข้อเรื่อง “ทางออกประเทศไทยในยุคที่มิจฉาชีพออนไลน์เกลื่อนเมืองหลายรูปแบบจนแยกไม่ออก” ด้วยเหตุผลที่ว่า ปัจจุบันนี้มิจฉาชีพออนไลน์มีอยู่หลากหายรูปแบบมากเกินกว่าเราจะรับรู้ ดังนั้น…

.บริษัท ไอบีเอ็ม ประเทศไทย จำกัด ออกมาเตือนประชาชน ให้ระวังช่วงเทศกาลสงกรานต์เป็นพิเศษ อาชญากรไซเบอร์ มิจฉาชีพออนไลน์ แก๊งคอลเซ็นเตอร์ อาจจะอาศัยช่วงเวลาแห่งความสุขนี้ในการออกอาละวาด หาเหยื่อหลอกตุ๋นเงิน ถ้าไม่อยากมีความทุกข์ต้อนรับวันสงกรานต์ หากได้รับข้อความพร้อมแนบลิงก์น่าสงสัย อย่ากดเด็ดขาด ไม่อย่างนั้นอาจตกเป็นเหยื่อของพวกมิจฉาชีพออนไลน์เอาได้. .ซึ่งปัญหามิจฉาชีพโกงเงินประชาชน นับว่าเป็นอีกหนึ่งปัญหาวาระแห่งชาติที่แม้จะมีการตรวจสอบ บุกจับและปราบปราม ก็ยังคงผุดขึ้นมาใหม่ไม่จบไม่สิ้น ทางหน่วยงานภาครัฐและเอกชนจึงร่วมมือกันผุดแพลตฟอร์มออนไลน์ที่จะสามารถช่วยเหลือประชาชนในเบื้องต้น…

.ยังไม่ทันได้จัดตั้งรัฐบาลแล้วเสร็จ บรรดามิจฉาชีพก็ออกอาละวาดทันที ผุดแอปพลิเคชันปลอม หลอกให้ลงทะเบียนรับเงินดิจิทัล 1 หมื่น ซึ่งความจริงแล้วเป็นการหลอกเอาข้อมูล เนื่องจากทางพรรคเพื่อไทยยังไม่ได้ดำเนินการ อยู่ในระหว่างการหารือและเก็บรวบรวมข้อมูล.ล่าสุดกองบังคับการตรวจสอบและวิเคราะห์อาชญากรรมทางเทคโนโลยี ตรวจสอบพบผู้เสียหายหลาย ได้รับข้อความสั้น (SMS) จากหมายเลขโทรศัพท์ที่ไม่ทราบแหล่งที่มา แจ้งว่า “คุณได้รับเงินดิจิทัล 10,000 บาท โปรดติดต่อเจ้าหน้าที่” พร้อมกับแนบลิงก์ให้เพิ่มเพื่อนทางแอปพลิเคชันไลน์ ใช้ชื่อบัญชีไลน์ว่า…